เป้าหมายหลัก (Understanding Goal)

เป้าหมายหลัก (Understanding Goal)

รายวิชาภาษาไทย : เป้าหมายของการเรียนรู้จากขั้นพื้นฐานไปสู่ขั้นสูง

1. เพื่อใช้ภาษาในการรับรู้และสื่อความต้องการ

2. เพื่อใช้ภาษาเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ให้ความเข้าใจต่อโลกและปรากฏการณ์ต่างๆ

Mind Mapping

กระบวนการเรียนรู้
Mind Mapping



สาระการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๙
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑

Quarter 1

Quarter 2

Quarter 3

Quarter 4

หลักภาษา
วรรณกรรม
หลักภาษา
วรรณกรรม
หลักภาษา
วรรณกรรม
หลักภาษา
วรรณกรรม
- พยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์
- อักษรสามหมู่ ,การผันอักษร
- สระคงรูป สระลดรูป และสระแปลงรูป/สระเสียงสั้น เสียงยาว
- คำ พยางค์
- ประโยค ๒ ส่วน,ประโยค ๓ ส่วน
- คำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
- คำควบกล้ำแท้,คำควบกล้ำไม่แท้
- มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา
- ไม่ตรงตามมาตรา 
- อักษรนำ
นิทานสระสนุก
นิทานกินหาง
หนังสือ  “เด็กน้อย”







ขอบข่ายเนื้อหาการเรียนรู้กลุ่มสาระภาษาไทย
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ Quarter 1 ปีการศึกษา ๒๕๕๙
สัปดาห์

วรรณกรรม/ตอน

ความเข้าใจ(แก่นเรื่อง)

หลักภาษา


เป้าหมายของการเรียนรู้หลักภาษา
นิทานสระสนุก
พยัญชนะไทย และสระเป็นสิ่งสำคัญในการเรียนรู้ภาษาในระดับพื้นฐาน สีสันและจินตนาการเป็นส่วนช่วยให้เรียนรู้ได้ดี
- พยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์

นักเรียนสามารถอ่านและเขียนพยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์ได้ นำมาแต่งประโยคได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้

นิทานสระสนุก ตอน กากับลา
หาวิธีในการแก้ปัญหา อย่างไม่ย่อท้อ จนเจอทางแก้ปัญหาที่ถูกวิธี และใช้ได้เหมาะสมกับปัญหาในที่สุด
- อักษรสามหมู่ ,การผันอักษร

นักเรียนเข้าใจเรื่องอักษรสามหมู่ อ่านและสามารถผันอักษรได้ นำคำมาแต่งประโยคและเขียนเรื่องราวได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
นิทานสระสนุก ตอนแมวน้อยกับไม้เท้าวิเศษ
เมื่อนำไม้เท้ารูปสระ อี ไปชี้ตัวอักษรตัวใดก็ตามที่มีความหมายก็จะมีเสียงและภาพปรากฏขึ้น แต่คำไหนที่ไม่มีความหมายก็จะมีแต่เสียงเพียงอย่างเดียว
- สระคงรูป สระลดรูป และสระแปลงรูป/สระเสียงสั้น เสียงยาว

นักเรียนสามารถอ่านและเขียนสระคงรูป สระลดรูป และสระแปลงรูป/สระเสียงสั้น เสียงยาวได้ สามารถนำมาแต่งประโยค เขียนเรื่องราวตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
นิทานสระสนุก ตอนแมวน้อยตะลุยโลกล้านปี
ในโลกที่ใช้ภาษาคนละภาษา ทำให้เข้าใจไม่ตรงกัน ทำให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน อย่างเพื่อนสอนเพื่อนอีกดาวดวงหนึ่งในการออกเสียงคำที่ถูกต้อง และมีความหมาย
- คำ พยางค์

นักเรียนเข้าใจ สามารถอ่านและเขียนคำ - พยางค์  นำมาเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้

นิทานสระสนุก ตอน แมวน้อยกับยักษ์ตัวโต
เกิดการแบ่งปันน้ำใจ และการเอื้อเฟื้อซึ่งกันและกัน  เมื่อเพื่อนเดือดร้อนก็ช่วยเหลือ ร่วมใจสามัคคี จนประสบผลสำเร็จในที่สุด
- ประโยค ๒ ส่วน,ประโยค ๓ ส่วน

นักเรียนสามารถอ่านและเขียนประโยค ๒ ส่วน,ประโยค ๓ ส่วนได้ เข้าใจและนำมาแต่งเป็นประโยค เขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
นิทานสระสนุก ตอน เสือขี้เบื่อ
ในวันที่น่าเบื่อ ก็อาจจะมีเหตุการณ์บางอย่างที่ทำให้หายน่าเบื่อ อย่างการช่วยเหลือคนที่เดือดร้อน สิ่งที่ตอบแทนกลับมาก็เป็นเรื่องราวดีๆเกิดขึ้นหลังจากนี้
 - คำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
นักเรียนสามารถอ่านและเขียน แยกแยะคำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ได้ เข้าใจและนำมาแต่งเป็นประโยค เขียนเรื่องตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ได้ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
นิทานกินหาง ตอน กระท่อมปลายนา
การดำเนินชีวิตของผู้เฒ่าในแต่ละวัน ชอบที่จะเล่านิทานให้เด็กๆได้ฟัง เป็นการใช้คำง่ายๆ เข้าใจง่าย มีความเพลิดเพลิน และเกิดจินตนาการ
- คำควบกล้ำแท้,คำควบกล้ำไม่แท้

นักเรียนสามารถอ่านบทอาขยานง่ายๆ และเขียนตามคำบอกได้ สามารถนำคำคำควบกล้ำแท้,คำควบกล้ำไม่แท้มาแต่งประโยค และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
นิทานกินหาง ตอน ของเล่นทำเอง
การดำเนินชีวิตด้วยความพอเพียงและการเอื้อเฟื้อ และการหยิบจับสิ่งของในชุมชนหรือสิ่งที่อยู่รอบๆตัวมาประดิษฐ์ เกิดการเรียนรู้ และสร้างสรรค์ผลงานได้ตามจินตนาการ
- มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา

นักเรียนสามารถเข้าใจ อ่านและเขียนคำในมาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา  สามารถนำคำในบัตรคำมาแต่งประโยค และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
เด็กน้อย ตอน แบ่งปัน
การแบ่งปัน เป็นการให้โดยไม่หวังสิ่งตอบแทน แบ่งปันน้ำใจ แบ่งปันทรัพย์ แบ่งปันแรงกาย ไม่ว่าจะเป็นการแบ่งปันแบบใดหากทำด้วยใจ ย่อมเกิดสิ่งที่ดีงามตามมา
- มาตราตัวสะกดที่ไม่ตรงตามมาตรา 

นักเรียนสามารถเข้าใจ อ่านและเขียนคำในมาตราตัวสะกดที่ไม่ตรงตามมาตรา  สามารถนำคำมาแต่งประโยค และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
๑๐
เด็กน้อย ตอน หนังสือ
หนังสือเป็นคลังความรู้แห่งปัญญา ที่กว้างขวางและไร้พรมแดน สามารถไขปริศนาในเรื่องที่ไม่เข้าใจให้กระจ่างแจ้งได้ หนังสือทำให้เข้าใจโลกกว้างโดยไม่ต้องออกเดินทาง
- อักษรนำ
นักเรียนสามารถอ่านและเขียนอักษรนำ แยกแยะ ห นำ และ อ นำได้ นำมาแต่งประโยค และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
๑๑

นิทานพื้นบ้านไทย
สรุปองค์ความรู้ตั้งแต่สัปดาห์ที่ ๑ – ๑๐
ทบทวนความรู้ และสรุปองค์ความรู้ใน Quarter 1

นักเรียนเข้าใจและสามารถสรุปองค์ความรู้ในเรื่องที่เรียนในQuarter 1 และนำไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ได้  สามารถสรุปใจความและสาระสำคัญของหนังสือที่อ่านและนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันรวมทั้งเข้าใจในหลักภาษาที่ได้เรียนทั้งQuarter 1 สามารถอธิบาย หลักภาษาที่ได้เรียนทั้ง Quarter 1ได้


ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ Quarter 1
หน่วยการเรียนเรื่อง นิทาน
สัปดาห์
ว/ด/ป
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ ๑
หน่วยการเรียนรู้
นิทานสระสนุก
สาระ/หลักภาษาไทย
พยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน
ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน
ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
ป.๑/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์ และเลขไทย

ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก

นักเรียนสามารถอ่านและเขียนพยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์ได้ นำมาแต่งประโยคได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้



สัปดาห์
ว/ด/ป
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ ๒
หน่วยการเรียนรู้
นิทานสระสนุก ตอน กากับลา
สาระ/หลักภาษาไทย
อักษรสามหมู่ ,การผันอักษร
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน
ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน
ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
ป.๑/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์ และเลขไทย
ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่าย ๆ
ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก

นักเรียนเข้าใจเรื่องอักษรสามหมู่ อ่านและสามารถผันอักษรได้ นำคำมาแต่งประโยคและเขียนเรื่องราวได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้

สัปดาห์
ว/ด/ป
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ ๓
หน่วยการเรียนรู้
นิทานสระสนุก ตอนแมวน้อยกับไม้เท้าวิเศษ
สาระ/หลักภาษาไทย
สระคงรูป สระลดรูป และสระแปลงรูป/สระเสียงสั้น เสียงยาว
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน
ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน
ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่าย ๆ
ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก

นักเรียนสามารถอ่านและเขียนสระคงรูป สระลดรูป และสระแปลงรูป/สระเสียงสั้น เสียงยาวได้ สามารถนำมาแต่งประโยค เขียนเรื่องราวตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้

สัปดาห์
ว/ด/ป
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ ๔
หน่วยการเรียนรู้
นิทานสระสนุก ตอนแมวน้อยตะลุยโลกล้านปี
สาระ/หลักภาษาไทย
คำ พยางค์
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน
ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน
ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่าย ๆ
ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก

นักเรียนเข้าใจ สามารถอ่านและเขียนคำ - พยางค์  นำมาเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้


สัปดาห์
ว/ด/ป
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ ๕
หน่วยการเรียนรู้
นิทานสระสนุก ตอน แมวน้อยกับยักษ์ตัวโต
สาระ/หลักภาษาไทย
ประโยค ๒ ส่วน,ประโยค ๓ ส่วน
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน
ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน
ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่าย ๆ
ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก

นักเรียนสามารถอ่านและเขียนประโยค ๒ ส่วน,ประโยค ๓ ส่วนได้ เข้าใจและนำมาแต่งเป็นประโยค เขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้

สัปดาห์
ว/ด/ป
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้
นิทานสระสนุก ตอน เสือขี้เบื่อ
สาระ/หลักภาษาไทย
คำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน
ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน
ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่าย ๆ
ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก

นักเรียนสามารถอ่านและเขียน แยกแยะคำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ได้ เข้าใจและนำมาแต่งเป็นประโยค เขียนเรื่องตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ได้ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้

สัปดาห์
ว/ด/ป
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ ๗
หน่วยการเรียนรู้
นิทานกินหาง ตอน กระท่อมปลายนา
สาระ/หลักภาษาไทย
คำควบกล้ำแท้,คำควบกล้ำไม่แท้
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๔ เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน
ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน
ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่าย ๆ
ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก
ป.๑/๒ ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด  และบทร้อยกรองตามความสนใจ
นักเรียนสามารถอ่านบทอาขยานง่ายๆ และเขียนตามคำบอกได้ สามารถนำคำคำควบกล้ำแท้,คำควบกล้ำไม่แท้มาแต่งประโยค และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้

สัปดาห์
ว/ด/ป
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ ๘
หน่วยการเรียนรู้
นิทานกินหาง ตอน ของเล่นทำเอง
สาระ/หลักภาษาไทย
มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๔ เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน
ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน
ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๒ ตอบคำถามและเล่าเรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่าย ๆ
ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก
ป.๑/๒ ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด  และบทร้อยกรองตามความสนใจ
นักเรียนสามารถเข้าใจ อ่านและเขียนคำในมาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา  สามารถนำคำในบัตรคำมาแต่งประโยค และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้

สัปดาห์
ว/ด/ป
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ ๙
หน่วยการเรียนรู้
เด็กน้อย ตอน แบ่งปัน
สาระ/หลักภาษาไทย
มาตราตัวสะกดที่ไม่ตรงตามมาตรา 
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน
ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน
ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๒ ตอบคำถามและเล่าเรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่าย ๆ
ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก
ป.๑/๒ ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด  และบทร้อยกรองตามความสนใจ
นักเรียนสามารถเข้าใจ อ่านและเขียนคำในมาตราตัวสะกดที่ไม่ตรงตามมาตรา  สามารถนำคำมาแต่งประโยค และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้

สัปดาห์
ว/ด/ป
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ ๑๐
หน่วยการเรียนรู้
เด็กน้อย ตอน หนังสือ
สาระ/หลักภาษาไทย
อักษรนำ
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน
ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน
ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๒ ตอบคำถามและเล่าเรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่าย ๆ
ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก
ป.๑/๒ ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด  และบทร้อยกรองตามความสนใจ
นักเรียนสามารถอ่านและเขียนอักษรนำ แยกแยะ ห นำ และ อ นำได้ นำมาแต่งประโยค และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้

สัปดาห์
ว/ด/ป
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ ๑๑
หน่วยการเรียนรู้
นิทานสระสนุก
สาระ/หลักภาษาไทย
ทบทวนความรู้
สรุปองค์ความรู้ใน Quarter 1

ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๔ เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน
ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน
ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๒ ตอบคำถามและเล่าเรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
ป.๑/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์ และเลขไทย
ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่าย ๆ
ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก
ป.๑/๒ ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด  และบทร้อยกรองตามความสนใจ
นักเรียนเข้าใจและสามารถสรุปองค์ความรู้ในเรื่องที่เรียนในQuarter 1 และนำไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ได้  สามารถสรุปใจความและสาระสำคัญของหนังสือที่อ่านและนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันรวมทั้งเข้าใจในหลักภาษาที่ได้เรียนทั้งQuarter 1 สามารถอธิบาย หลักภาษาที่ได้เรียนทั้ง Quarter 1ได้


ปฏิทินการเรียนรู้ภาษาไทย  ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
Quarter 1 ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
Week
Input
Process
Output
Outcome
    ๑
๑๖ ๒๐
..
๒๕๕๙
โจทย์ :
- ทบทวนสิ่งที่รู้แล้ว ทบทวนหลักภาษา
- พยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์
คำถาม :
นักเรียนคิดว่าเรื่องราวในนิทานสระสนุกจะเป็นอย่างไร
- นักเรียนจะอ่านและเขียนคำให้ถูกต้องได้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Key Questions 
- Show and Share 
- พฤติกรรมสมอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
- บัตรภาพ/บัตรคำ
หนังสือนิทานสระสนุก
- ครูให้นักเรียนดูบัตรภาพเกี่ยวกับนิทาน
- นักเรียนแต่ละคนเขียนคาดเดาเรื่องเกี่ยวกับนิทานพร้อมวาดภาพประกอบ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิดเกี่ยวกับนิทาน
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- ครูแนะนำหนังสือนิทาน นิทานสระสนุก
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้ และเขียนแผนภาพความคิดสรุปเรื่องราวตามความเข้าใจ
- เล่นเกมจับคู่ โดยครูจากแจกบัตรคำ และบัตรภาพที่เข้าคู่กันให้นักเรียนแต่ละคน (บัตรพยัญชนะ/สระ/วรรณยุกต์)
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และการนำไปใช้สื่อสารอย่างเหมาะสม
- นักเรียนทำใบงาน
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ และทบทวนกิจกรรมที่อยากเรียนรู้

ภาระงาน :
การพูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
การวิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านนิทาน
การนำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่อยากเรียนรู้
- การสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
ชิ้นงาน :
- เขียนคาดเดาเรื่อง
- แผนภาพความคิดสรุปเรื่องราว
- ใบงาน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอ่าน เขียนพยัญชนะ  สระ  และวรรณยุกต์ได้ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ทักษะ :
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน

Week
Input
Process
Output
Outcome
๒๓ ๒๗
..
๒๕๕๙
โจทย์ :
- อ่านนิทานสระสนุก ตอน กากับลา
- อักษรสามหมู่ ,การผันอักษร
คำถาม :
- ถ้านักเรียนเป็นลา นักเรียนจะหาวิธีในการแก้ปัญหาได้อย่างไร
- อักษรสามหมู่เกี่ยวข้องกับการอ่าน การเขียน หรือสามารถนำไปใช้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Blackboard Share 
- Key Questions 
- Show and Share 
- พฤติกรรมสมอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
- เพลงสระอา
- บัตรภาพ
- บัตรคำ
อ่านนิทานสระสนุก ตอน กากับลา
- ครูเล่านิทานสระสนุก ตอน กากับลา ให้นักเรียนฟัง
- ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนแผนภาพโครงเรื่องสรุปความเข้าใจ
- ครูเปิดเพลงสระอาให้นักเรียนฟัง
- ครูแจกกระดาษให้นักเรียนคนละแผ่น ให้นักเรียนเขียนคำที่สะกดด้วยสระอา และวาดภาพประกอบ
- นักเรียนสะกดคำต่อกันที่ละคน
- ครูพานักเรียนทำนิ้วมือวิเศษ ช่วยในการผันอักษร
- นักเรียนเลือกคำศัพท์ในนิทานมา ๕ คำ
- สร้างตารางผันอักษร แล้วใช้นิ้วมือวิเศษช่วยผันอักษร พร้อมทั้งวาดภาพประกอบ
- ครูมีบัตรภาพรูปสัตว์ให้นักเรียนดู (เสือ กา ช้าง) ให้ออกเสียงพร้อมทำท่าประกอบ
- ครูและนักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ทำ และสามารถเชื่อมโยงกับอักษรสามหมู่
- เล่นเกมจัดหมวดหมู่บัตรคำ
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการจัดหมวดหมู่อักษรสามหมู่      
- เขียนสรุปเกี่ยวกับอักษรสามหมู่ลงในสมุดเล่มเล็ก
- สรุปและแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผ่านมาทั้งสัปดาห์ สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ตามความสนใจ (นิทาน การ์ตูน ความเรียง ฯลฯ)




ภาระงาน :
- การอ่านนิทาน วิเคราะห์แลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่าน
การวิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการเล่นเกมสะกดคำ
การนำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่ทำ และสิ่งที่ได้เรียนรู้
ชิ้นงาน :
- แผนภาพโครงเรื่องสรุปความเข้าใจ
- นิ้วมือวิเศษ
- ตารางผันอักษร
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ตามความสนใจ
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถเขียน อ่านออกเสียงคำที่สะกดด้วยอักษรสามหมู่ สามารถผันอักษร และเล่ารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู รวมทั้งนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้
ทักษะ :
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน

Week
Input
Process
Output
Outcome
๓๐
มิ.ย.
๒๕๕๙
โจทย์ :
 - อ่านนิทานสระสนุก ตอน แมวน้อยกับไม้เท้าวิเศษ
- สระคงรูป สระลดรูป และสระแปลงรูป/สระเสียงสั้น เสียงยาว
คำถาม :
- เพราะเหตุใด ทำไมคำบางคำมีทั้งรูปและเสียง บางคำมีแต่เสียงไม่มีรูปปรากฏ
 - นักเรียนจะรู้ว่าคำใดใช้สระคงรูป ลดรูป แปลงรูปได้อย่างไร สังเกตจากสิ่งใด
เครื่องมือคิด :
- Blackboard Share 
 - Key Questions 
- Show and Share 
-พฤติกรรมสมอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
- บัตรคำ
- ไม้เท้าสระ อี
- กระดาษ
นิทานสระสนุก ตอนแมวน้อยกับไม้เท้าวิเศษ

- ครูเล่านิทานสระสนุก ตอน แมวน้อยกับไม้เท้าวิเศษให้นักเรียนฟัง
- ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนแผนภาพโครงเรื่องสรุปความเข้าใจ
- เล่นเกมสะกดคำ โดยครูแจกบัตรคำพยัญชนะให้นักเรียนทุกคน แล้วครูจะใช้ไม้เท้าสระ อี ชี้ไปที่ใครให้สะกดคำแล้วบอกว่า “คำนี้อ่านว่าอะไร แล้วมีความหมายหรือไม่”
- นักเรียนทำใบงาน
- นักเรียนเขียนตามคำบอก ๑๐ คำจากในนิทาน
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาสังเกตการใช้สระในคำศัพท์
- ครูพานักเรียนพับจรวด และแจกบัตรคำให้คนละ ๑ คำ
- นักเรียนเขียนคำลงในจรวด
- ครูและนักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับชิ้นงาน
- สรุปและแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผ่านมาทั้งสัปดาห์ สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ตามความสนใจ (นิทาน การ์ตูน ความเรียง ฯลฯ)
ภาระงาน :
- การอ่านนิทาน วิเคราะห์แลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่าน
การพูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการทำความดีให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
การนำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
ชิ้นงาน :
- แผนภาพโครงเรื่องสรุปความเข้าใจ
- ใบงาน
- จรวดสระลดรูป
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ตามความสนใจ (นิทาน ความเรียง การ์ตูนช่องฯลฯ)

ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอ่านและเขียนสระคงรูป สระลดรูป และสระแปลงรูป/สระเสียงสั้น เสียงยาวได้ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
ทักษะ :
-ทักษะชีวิต
-ทักการสื่อสาร
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน

Week
Input
Process
Output
Outcome
๑๐
มิ.ย.
๒๕๕๙
โจทย์ :
- อ่าน
นิทานสระสนุก ตอน แมวน้อยตะลุยโลกล้านปี
- คำ พยางค์
คำถาม :
- นักเรียนคิดว่าการพูดคำที่มีความหมายและไม่มีความหมายสำคัญอย่างไร
- การเขียน การอ่าน การพูดโดยใช้คำที่ถูกต้องส่งผลต่อเราอย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Blackboard Share 
- Key Questions
- Show and Share 
- พฤติกรรมสมอง
- Mind Mapping
สื่อและแหล่งเรียน :
- ห้องเรียน
- ใบงาน
- นิทานสระสนุก ตอน แมวน้อยตะลุยโลกล้านปี

- ครูเล่านิทานสระสนุก ตอน แมวน้อยตะลุยโลกล้านปี ให้นักเรียนฟัง แล้วให้นักเรียนอ่านออกเสียงอีกครั้ง (อ่านคนเดียว/อ่านต่อเนื่องพร้อมกัน)
- ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนแผนภาพโครงเรื่องสรุปความเข้าใจ
- นักเรียนเขียนตามคำบอก ๑๕ คำ จากในนิทาน
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับคำศัพท์ สังเกตพยางค์ในคำศัพท์ เขียนลงในสมุดเล่มเล็ก
- แบ่งกลุ่มเล่นเกมเติมคำ และพยางค์ให้ถูกต้อง
- นักเรียนทำใบงาน
- ครูและนักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับชิ้นงาน
- สรุปและแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผ่านมาทั้งสัปดาห์ สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ตามความสนใจ (นิทาน การ์ตูน ความเรียง ฯลฯ)






ภาระงาน :
- การอ่านนิทาน วิเคราะห์แลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่าน
การพูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการทำความดีให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
การวิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านนิทาน
การนำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
ชิ้นงาน :
- แผนภาพโครงเรื่องสรุปความเข้าใจ
- ใบงาน
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ตามความสนใจ (นิทาน ความเรียง การ์ตูนช่องฯลฯ)

ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอ่าน เขียนคำ และพยางค์ สามารถเล่ารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู รวมทั้งนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้
ทักษะ :
-ทักษะชีวิต
-ทักการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน

Week
Input
Process
Output
Outcome
๑๓ ๑๗
มิ.ย.
๒๕๕๙
โจทย์ :
 -อ่านนิทานสระสนุก ตอน แมวน้อยกับยักษ์ตัวโต
- ประโยค ๒ ส่วน,ประโยค ๓ ส่วน
 คำถาม :
- นักเรียนคิดว่าการแบ่งปัน สามารถทำอย่างไรได้บ้าง จงยกตัวอย่างประกอบ
- นักเรียนคิดว่าประโยคแต่ละประโยค แตกต่างกันอย่างไร
 เครื่องมือคิด :
- Blackboard  Share 
- Key Questions 
- Show and Share 
-พฤติกรรมสมอง 
-Mind Mapping
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
- บัตรภาพ
- แถบประโยค
- นิทานสระสนุก ตอน แมวน้อยกับยักษ์ตัวโต
- ครูเล่นนิทานสระสนุก ตอน แมวน้อยกับยักษ์ตัวโตให้นักเรียนฟัง แล้วให้นักเรียนอ่านออกเสียงอีกครั้ง (อ่านคนเดียว/อ่านต่อเนื่องพร้อมกัน)
- นักเรียนเล่าเรื่องราวต่อกันตั้งแต่ต้นจนจบ
- ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านโดยให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนแผนภาพโครงเรื่องสรุปความเข้าใจ
- เล่นเกมจับคู่บัตรภาพกับแถบประโยค
- ครูและนักเรียนสนทนา และวิเคราะห์เกี่ยวกับแถบประโยค
- นำประโยคที่ได้มาแต่งนิทาน พร้อมวาดภาพประกอบ
- นำเสนอผลงาน และร่วมกันแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับชิ้นงาน
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ตามความสนใจ (วาดภาพ นิทาน ความเรียง การ์ตูนช่อง ฯลฯ)

ภาระงาน :
- การอ่านนิทาน วิเคราะห์แลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่าน
การพูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการทำความดีให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
การวิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านนิทาน
การนำเสนอผลงาน และทบทวน กิจกรรมที่ทำร่วมกัน
ชิ้นงาน :
-  แผนภาพโครงเรื่อง
- นิทานเกี่ยวกับแถบประโยค
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ตามความสนใจ (วาดภาพ นิทาน ความเรียง การ์ตูนช่องฯลฯ)

ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอ่าน เขียนคำเป็นประโยคได้  สามารถเล่ารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู รวมทั้งนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้
ทักษะ :
-ทักษะชีวิต
-ทักการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน

Week
Input
Process
Output
Outcome
๒๐  ๒๔
มิ.ย.
๒๕๕๙
โจทย์ :
- อ่าน
นิทานสระสนุก ตอน เสือขี้เบื่อ
- คำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
คำถาม :
- นักเรียนมีกิจกรรมที่ชอบทำบ้างไหม อย่างเช่นอะไรบ้าง
- นักเรียนคิดว่าคำประวิสรรชนีย์และคำไม่ประวิสรรชนีย์ เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Blackboard  Share 
- Key Questions 
- Show and Share 
- Brainstorm
-Mind Mapping
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
- คลิป VDO เกี่ยวกับคำประวิสรรชนีย์
- นิทานสระสนุก ตอน เสือขี้เบื่อ

- ครูใบ้ท่าทางให้นักเรียนทาย (เกี่ยวกับคำประวิสรรชนีย์)
- ครูนำบัตรคำที่ใบ้ ให้นักเรียนดู และให้นักเรียนสังเกตข้อแตกต่าง
- เขียนแผนภาพความคิดสรุปความเข้าใจ และวาดภาพประกอบ
- ครูเล่านิทานสระสนุก ตอน เสื่อขี้เบื่อ ให้นักเรียนฟัง แล้วให้นักเรียนอ่านออกเสียง (อ่านทีละคน/อ่านต่อเนื่องพร้อมกัน)
- ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนทำใบงาน (เติม......โยค (ประ))
- นักเรียนดูคลิป VDO คำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
- ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เป็นแผนภาพความคิด และวาดภาพประกอบ
- ค้นหาคำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ จากหนังสือนิทาน
- นำคำศัพท์ที่ได้ ทำเป็นบัตรคำศัพท์เล็กๆ พร้อมทั้งวาดรูปประกอบ
- ครูและนักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับชิ้นงาน
- สรุปและแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผ่านมาทั้งสัปดาห์ สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ตามความสนใจ (นิทาน การ์ตูน ความเรียง ฯลฯ)

ภาระงาน :
- การอ่านนิทาน วิเคราะห์แลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่าน
การพูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการทำความดีให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
- การทำสมุดคำศัพท์เล่มเล็ก

การนำเสนอผลงาน และทบทวน กิจกรรมที่ทำร่วมกัน
- การสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับคำประวิสรรชนีย์ คำไม่ประวิสรรชนีย์ ตามความสนใจ
ชิ้นงาน :
- แผนภาพความคิด
- ใบงาน
- สมุดคำศัพท์เล่มเล็ก
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ตามความสนใจ (วาดภาพ นิทาน ความเรียง การ์ตูนช่องฯลฯ)


ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอ่าน เขียนคำประวิสรรชนีย์ คำไม่ประวิสรรชนีย์ได้ถูกต้อง และแยกคำประวิสรรชนีย์และคำไม่ประวิสรรชนีย์เพื่อนำไปปรับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ถูกต้องและเหมาะสม
ทักษะ :
-ทักษะชีวิต
-ทักการสื่อสาร
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน


Week
Input
Process
Output
Outcome
๒๗ – 
ก.ค.
๒๕๕๙
โจทย์ :
- อ่าน
นิทานกินหาง ตอน กระท่อมปลายนา
- คำควบกล้ำแท้,คำควบกล้ำไม่แท้
คำถาม :
- ทำไมเด็กๆถึงชอบฟังนิทาน แล้วชอบฟังนิทานประเภทไหนกันบ้าง
 - นักเรียนจะเขียน และใช้คำควบกล้ำอย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Blackboard  Share 
- Key Questions 
- Show and Share 
-พฤติกรรมสมอง 
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
- บัตรภาพคำควบกล้ำ
- นิทานกินหาง ตอน กระท่อมปลายนา
- ครูให้นักเรียนดูบัตรภาพเกี่ยวกับนิทานในสัปดาห์นี้
- นักเรียนแต่ละคนเขียนคาดเดาเรื่องเกี่ยวกับนิทานพร้อมวาดภาพประกอบ
- ครูเล่านิทานกินหาง ตอน กระท่อมปลายนา ให้นักเรียนฟัง แล้วให้นักเรียนอ่านออกเสียง (อ่านทีละคน/อ่านต่อเนื่องพร้อมกัน
- ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- แต่งนิทานใหม่ตามจินตนาการต่อจากผู้เฒ่า(ผู้เฒ่าจะเล่าเรื่องอะไร) พร้อมวาดภาพประกอบ
- แบ่งกลุ่มเล่นเกมใบ้คำจากบัตรภาพที่ครูกำหนดให้ (คำควบกล้ำ)
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับคำที่ใช้ในการเล่นเกม
- นักเรียนทำใบงาน (คำควบกล้ำ)
- นักเรียนค้นหาคำควบกล้ำในนิทานจำนวน ๕ คำ
- นำคำควบกล้ำที่ได้มาเขียนการ์ตูน ๓ ช่อง
- ครูและนักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับชิ้นงาน
- สรุปและแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผ่านมาทั้งสัปดาห์ สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ตามความสนใจ (นิทาน การ์ตูน ความเรียง ฯลฯ)
ภาระงาน :
- การอ่านนิทาน วิเคราะห์แลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่าน
การวิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการเล่นเกมใบ้คำ
การนำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่ทำ และสิ่งที่ได้เรียนรู้
- การสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับคำควบกล้ำแท้ คำควบกล้ำไม่แท้ตามความสนใจ
ชิ้นงาน :
- เขียนคาดเดาเรื่อง
- แต่งนิทานตอนใหม่
- ใบงาน
- การ์ตูน ๓ ช่อง
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ตามความสนใจ (วาดภาพ นิทาน ความเรียง การ์ตูนช่องฯลฯ)

ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอ่าน เขียนคำควบกล้ำ แยกคำควบกล้ำแท้ ควบกล้ำไม่แท้ได้  สามารถเล่ารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู รวมทั้งสามารถนำข้อคิดที่ได้จากการอ่านไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ทักษะ :
-ทักษะชีวิต
-ทักการสื่อสาร
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน

Week
Input
Process
Output
Outcome
๔ – ๘
ก.ค.
๒๕๕๙
โจทย์ :
 - อ่าน
นิทานกินหาง ตอน ของเล่นทำเอง
- มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา
คำถาม :
- นักเรียนเคยทำของเล่นเองไหม แล้วรู้วิธีทำได้อย่างไร
- นักเรียนจะเขียน และสะกดคำให้ถูกต้องได้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Blackboard  Share 
- Key Questions 
- Show and Share 
-พฤติกรรมสมอง 
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
- บัตรคำ
- นิทานกินหาง ตอน ของเล่นทำเอง
- นักเรียนอ่านนิทานโดยการอ่านออกเสียง ( อ่านพร้อมกัน  อ่านเรียง อ่านคนเดียว) และอ่านในใจ
- ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- เขียนแผนภาพความคิดสรุปความเข้าใจ และวาดภาพประกอบ
- แบ่งกลุ่มเล่นเกมใบ้คำ โดยครูให้นักเรียนเป็นคนใบ้ให้เพื่อนดูและทาย (ตัวสะกดตรงมาตรา)
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับคำในมาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา
- นักเรียนค้นหาคำที่มีมาตราตัวสะกดตรงมาตราในนิทาน และนำจัดหมวดหมู่ สร้างคลังคำตามตัวสะกดแต่ละแม่ พร้อมทั้งแต่งประโยคหรือวาดภาพประกอบ
- ครูและนักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับชิ้นงาน
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ตามความสนใจ (วาดภาพ นิทาน ความเรียง การ์ตูนช่องฯลฯ)

ภาระงาน :
- การอ่านนิทาน วิเคราะห์แลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่าน
- การวิเคราะห์จัดหมวดหมู่คำศัพท์ตัวสะกดที่ตรงมาตรา
นำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่ทำ และสิ่งที่ได้เรียนรู้
- การสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับมาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตราตามความสนใจ
ชิ้นงาน :
- แผนภาพความคิดสรุปความเข้าใจ
- คลังคำศัพท์ตัวสะกดที่ตรงมาตรา
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ตามความสนใจ (วาดภาพ นิทาน ความเรียง การ์ตูนช่องฯลฯ)

ความรู้ :
เข้าใจและสามารถเขียน อ่านออกเสียงคำที่สะกดด้วยมาตราตัวสะกดตรงและไม่ตรงมาตราได้อย่างถูกต้อง รวมทั้งสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 
ทักษะ :
-ทักษะชีวิต
-ทักการสื่อสาร
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน

Week
Input
Process
Output
Outcome
๑๑ – ๑๕
ก.ค.
๒๕๕๙
โจทย์ :
- อ่านหนังสือเด็กน้อย ตอน แบ่งปัน
- มาตราตัวสะกดที่ไม่ตรงตามมาตรา 
คำถาม :
- นักเรียนคิดว่าการแบ่งปันทำได้อย่างไรบ้าง แล้วถ้าเป็นนักเรียนนักเรียนจะแบ่งปันให้ผู้อื่นอย่างไร
- นักเรียนจะเขียน และสะกดคำให้ถูกต้องได้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Blackboard  share
- Key Questions 
- Show and Share 
-พฤติกรรมสมอง 
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
- คลิป VDO เกี่ยวกับมาตราตัวสะกด
- หนังสือเด็กน้อย ตอน แบ่งปัน
- ครูอ่านหนังสือเด็กน้อย ตอน แบ่งปัน ให้นักเรียนฟัง แล้วให้นักเรียนอ่านออกเสียงอีกครั้ง (อ่านพร้อมกัน อ่านเรียง อ่านคนเดียว)
- ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- สรุปความเข้าใจโดยแต่งเป็นการ์ตูนช่อง และวาดภาพประกอบ
- แบ่งกลุ่มแสดงบทบาทสมมติ โดยครูมีอุปกรณ์ให้ แล้วให้นักเรียนแสดงเกี่ยวกับการแบ่งปัน
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการแบ่งปัน และให้นักเรียนเขียนความเรียงเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเคยแบ่งปันสั้นๆลงในสมุดเล่มเล็ก
- นักเรียนดูคลิป VDO เกี่ยวกับมาตราตัวสะกด
- ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับคำที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราหลังจากดู VDO
- นักเรียนค้นหาคำที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราในหนังสือ นำมาทำเป็นบัตรคำศัพท์เล็กๆ แต่งประโยคประกอบหรือวาดภาพประกอบ
- ครูและนักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับชิ้นงาน
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ตามความสนใจ (วาดภาพ นิทาน ความเรียง การ์ตูนช่องฯลฯ)

ภาระงาน :
- การอ่านนิทาน วิเคราะห์แลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่าน
การพูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการแบ่งปันให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
การวิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านนิทาน
การนำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่ทำ และสิ่งที่ได้เรียนรู้
ชิ้นงาน :
- การ์ตูนช่อง
- ความเรียงเกี่ยวการแบ่งปัน
- บัตรคำศัพท์
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ตามความสนใจ (วาดภาพ นิทาน ความเรียง การ์ตูนช่องฯลฯ)

ความรู้ :
เข้าใจและสามารถเขียน อ่านออกเสียงคำที่สะกดด้วยมาตราตัวสะกดตรงและไม่ตรงมาตราได้อย่างถูกต้อง รวมทั้งสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 
ทักษะ :
-ทักษะชีวิต
-ทักการสื่อสาร
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน

Week
Input
Process
Output
Outcome
๑๐
๑๘ – ๒๒
ก.ค.
๒๕๕๙
โจทย์ :
- อ่านหนังสือเด็กน้อย ตอน หนังสือ
- อักษรนำ
คำถาม :
นักเรียนคิดว่าหนังสือสามารถเป็นอะไรได้บ้าง ถ้าในโลกนี้ไม่มีหนังสือจะเป็นอย่างไร
- นักเรียนสามารถอ่าน และแยกอักษรนำได้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Key Questions
- Show and Share
- Brain storm
-Mind Mapping
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
- บัตรภาพ
- บัตรคำ
- เพลงอักษรนำ
- หนังสือเด็กน้อย ตอน หนังสือ
- ครูนำบัตรภาพเกี่ยวหนังสือมาให้นักเรียนดู
- สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับหนังสือ
- นักเรียนแต่ละคนเขียนคาดเดาเรื่องที่จะเรียนในสัปดาห์นี้ พร้อมวาดภาพประกอบ
- ครูอ่านหนังสือเด็กน้อย ตอน หนังสือ ให้นักเรียนฟัง แล้วให้นักเรียนอ่านออกเสียงตาม (อ่านพร้อมกัน  อ่านเรียง อ่านคนเดียว)
- ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนสรุปโดยเขียนแผนภาพความคิดเกี่ยวกับหนังสือ
- แบ่งกลุ่มเล่นเกมใบ้ท่าทางจากบัตรคำ
- นำคำที่ได้จากเกมมาแยกหมวดหมู่อักษรนำที่มี ห นำ และอ นำ
- นักเรียนทำใบงาน
- ครูให้นักเรียนฟังเพลงอักษรนำ แล้วให้นักเรียนหาคำที่มีอักษรนำให้หนังสือ
- นำคำมาแต่งนิทานและวาดภาพประกอบเกี่ยวกับหนังสือที่ตนเองชอบ
- ครูและนักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับชิ้นงาน
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ตามความสนใจ (วาดภาพ นิทาน ความเรียง การ์ตูนช่องฯลฯ)

ภาระงาน :
- การอ่านนิทาน วิเคราะห์แลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่าน
การพูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการทำความดีให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
นำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่ทำ และสิ่งที่ได้เรียนรู้
- การสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับอักษรนำตามความสนใจ
ชิ้นงาน :
- แผนภาพความคิด
- ใบงาน
- นิทานหนังสือที่ชอบ
-  สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ตามความสนใจ (วาดภาพ นิทาน ความเรียง การ์ตูนช่องฯลฯ)


ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอ่าน เขียนอักษรนำ แยกอักษรนำที่มี ห นำ และอ นำได้ สามารถเล่ารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู รวมทั้งสามารถนำข้อคิดที่ได้จากการอ่านไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ทักษะ :
-ทักษะชีวิต
-ทักการสื่อสาร
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ:
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน


Week
Input
Process
Output
Outcome
๑๑
๒๕ – ๒๙
ก.ค.
๒๕๕๙
โจทย์ :
สรุปประมวลองค์ความรู้
คำถาม :
นักเรียนจะสรุปและเผยแพร่สิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Key Questions
- Show and Share
- Brainstorm
-Mind Mapping
- ครูกระตุ้นความคิด  นักเรียนจะนำองค์ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร  นักเรียนคิดว่าอะไรคือสิ่งที่นักเรียนรู้แล้วและสิ่งที่ควรพัฒนาต่อมีอะไรบ้าง 
- นักเรียนเขียนสรุปคุณค่าของวรรณกรรม (นิทาน) ที่อ่านผ่านรูปแบบที่สนใจ เช่น ความเรียง การ์ตูน นิทาน
- นักเรียนสนทนาทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ ทั้งวรรณกรรมและหลักภาษา
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียนเป็นแผนภาพความคิด
- นำเสนอ เผยแพร่องความรู้ที่ได้ทั้ง Quarter 1

ภาระงาน :
- การอ่านวิเคราะห์วรรณกรรม(นิทาน) เชื่อมโยงสู่การนำไปปรับใช้กับตนเอง
- การทบทวนหลักภาษาที่เรียนรู้
- การวิเคราะห์ สังเคราะห์ เนื้อหาและสิ่งที่ได้เรียนรู้ รวมทั้งนิทาน วรรณกรรมที่อ่าน
- การนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้/ผลงาน
ชิ้นงาน :
- แผนภาพความคิด
- สรุปคุณค่าของวรรณกรรมที่อ่านผ่านรูปแบบที่สนใจ เช่น ความเรียง การ์ตูน นิทาน ฯลฯ
- แผนภาพความคิดสรุปองค์ความรู้ทั้ง Quarter 1
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอ่านออกเสียงได้ อธิบายความหมายคำและข้อความที่อ่านได้ การตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ลำดับเหตุการณ์และคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน รวมทั้งสามารถนำข้อคิดที่ได้จากการอ่านไปใช้ในชีวิตประจำวัน รู้จักและเข้าใจหลักภาษาในเรื่อง การย่อความสรุปเรื่อง  สามารถย่อความสรุปเรื่องได้ถูกต้อง มีมารยาทในการฟัง พูด อ่าน เขียน
ทักษะ :
-ทักษะชีวิต
-ทักการสื่อสาร
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน